THE GREATEST GUIDE TO ด้วงสาคู

The Greatest Guide To ด้วงสาคู

The Greatest Guide To ด้วงสาคู

Blog Article

You're utilizing a browser that isn't supported by Fb, so we've redirected you to definitely a simpler Edition to provide you with the greatest working experience.

ปลูกฟ้าทะลายโจร พืชสมุนไพรไทย มีประโยชน์มาก

เตือนภัยชาวสวนปาล์มระวังหนอนปลอกเล็กระบาด

เยี่ยมชมร้านเกษตรพันธุ์ไม้ ความจริงแล้วด้วงสาคูหรือด้วงมะพร้าวไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่อะไร สัตว์ชนิดนี้เป็นเสมือนอาหารท้องถิ่นของคนภาคใต้มายาวนานหลายสิบปีแล้ว เช่นเดียวกับการบริโภคแมลงต่างชนิดกันในภูมิภาคอื่นนั่นเอง แต่หลังจากที่มีการค้นพบว่าด้วงสาคูมีคุณค่าทางอาหารสูงมาก โดยเฉพาะโปรตีนชนิดที่มีคุณภาพดีเทียบเท่าเนื้อสัตว์ทั่วไป เลยทำให้ด้วงชนิดนี้ได้รับความสนใจในการทำการเลี้ยงสัตว์ชนิดนี้มากขึ้น ทั้งจากคนที่ต้องการลิ้มลองรสชาติของมันและกลุ่มคนที่ต้องการเพาะเลี้ยงเพื่อสร้างอาชีพ ที่สำคัญยังมีการมองการณ์ไกลว่าด้วงสาคูจะเป็นหนึ่งในอาหารแห่งอนาคตได้อีกด้วย จากเดิมที่ใช้หนอนด้วงเป็นวัตถุดิบสดในการปรุงอาหารธรรมดา จึงเริ่มมีการแปรรูปและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่เข้าถึงได้ง่ายยิ่งขึ้น จากแมลงศัตรูพืชที่สร้างความเสียหายให้กับพืชจำพวกปาล์ม เลยกลายเป็นสินค้าที่ทำรายได้มหาศาลให้คนในชุมชน ซึ่งตลาดที่ต้องการด้วงสาคูยังขยายวงกว้างได้อีกหลายเท่า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

เนื่องจากด้วงสาคูมีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราการเกิดและการเจริญเติบโต ดังนั้นการเพาะเลี้ยงจึงต้องเลือกใช้อุปกรณ์ให้ถูกต้องและปรับสภาพโรงเรือนให้เหมาะสมเสมอ

ด้วงสาคูสามารถรับประทานขนมหรือของว่าง มักจะปรุงรสด้วยซอสซีอิ๋ว พริก และพริกไทย หรือตะไคร้ ด้วงสาคู และใบมะกรูด เป็นอาหารคาวได้ บางคนรับประทานสดๆ ใส่น้ำปลาและพริกและรับประทาน

การเลี้ยงแบบดั้งเดิม โดยใช้ท่อนสาคูหรือท่อนลาน (แบบธรรมชาติ)

สำนักวิชา เทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร

อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : เทคนิคเลี้ยง “ด้วงสาคู” ในกะละมัง เลี้ยงง่ายใช้พื้นที่น้อย สร้างรายได้หลักหมื่นต่อเดือน

บทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมจากผู้เขียน

นำส่วนผสม คือ ต้นสาคูบด และเปลือกมะพร้าวสดสับ ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน จากนั้นจึงนำส่วนผสมกากน้ำตาล น้ำ และ อาหารเลี้ยงสัตว์ที่เตรียมไว้ ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันอีกครั้ง

สภาพภูมิอากาศ ถ้าระดับความชื้นในอากาศไม่เพียงพอ ก็อาจทำให้ด้วงสาคูเติบโตไม่ดีเท่าที่ควร นี่เลยเป็นเหตุผลหนึ่งว่าทำไมสัตว์ชนิดนี้ถึงนิยมเลี้ยงกันมากในภาคใต้ ที่มีปริมาณน้ำฝนค่อนข้างมากและยาวนานตลอดทั้งปี นอกจากนี้การถ่ายเทของอากาศในโรงเรือนก็สำคัญ​ จำไว้ว่าต้องชื้นแต่ไม่อับถึงจะดี

แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อแนะนำที่ควรระวังในการเลี้ยงด้วย เนื่องจากแมลงชนิดนี้เป็นศัตรูพืชที่เข้าทำลายต้นปาล์ม มะพร้าว ลาน และสาคู จึงไม่ควรปล่อยให้ตัวเต็มวัยเล็ดลอดสู่ธรรมชาติโดยเด็ดขาด

สูตรอาหารเสริมผสมทางปาล์มสด (ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร)

Report this page